หน้าแรก เว็บไซต์คณะทันตแพทยศาสตร์

เกี่ยวกับภาควิชา


หน้าหลัก
แนะนำสาขาวิชาทันตกรรมชุมชน
แนะนำสาขาวิชาทันตกรรมทั่วไป
กระบวนวิชาที่เปิดสอน
  (สาขาวิชาทันตกรรมชุมชน)
กระบวนวิชาที่ร่วมสอน
  (สาขาวิชาทันตกรรมชุมชน)
กระบวนวิชาที่เปิดสอน
  (สาขาวิชาทันตกรรมทั่วไป)
บุคลากร
งานวิจัย

เว็บภาควิชาเดิม

หลักสูตรสาขาวิชาทันตกรรมชุมชน

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก


การฝึกปฏิบัติงานภาคสนามของนักศึกษาชั้นปีที่ 6

เกี่ยวกับ DCOM 603
(กระบวนวิชาฝึกปฏิบัติงานทันตกรรมชุมชน 2)
Course Syllabus DCOM 603
ปฏิทินการศึกษา DCOM 603
ข่าวประชาสัมพันธ์
กิจกรรมอื่นๆ

หลักสูตรสาขาวิชาทันตกรรมทั่วไป

ปริญญาตรี
ปริญญาโท
• ปริญญาเอก
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง

หลักสูตร วุฒิบัตร (ทันตกรรมทั่วไป)

การฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน
ระดับวุฒิบัตร สาขาทันตกรรมทั่วไป

E-learning

บทเรียนออนไลน์
บทเรียนต่างๆ ของภาควิชา
ทันตกรรมครอบครัวและชุมชน

DPPR483 ทันตกรรมส่งเสริมและป้องกัน
• DPPR 483
ชีวีมีสุขทันตกรรมพร้อมมูลช่วยได้
ชีวีมีสุขทันตกรรมพร้อมมูลช่วยได้

Doctor/Patient Relationship


Warning: fopen(counter.txt) [function.fopen]: failed to open stream: Permission denied in /var/www/commun/counter.php on line 28

Warning: fputs(): supplied argument is not a valid stream resource in /var/www/commun/counter.php on line 29

Warning: fclose(): supplied argument is not a valid stream resource in /var/www/commun/counter.php on line 30
006452

visitor since 
May 26th,2006

COMM_รายละเอียดกระบวนวิชา DCOP 602


บันทึกเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 ชม 2419 ครั้ง  

ระดับปริญญาตรี

 

 

<< กระบวนวิชาที่เปิดสอน >>

<< รายละเอียดกระบวนวิชา >>

<< ตารางกำหนดการเรียนการสอน >>



ประมวลรายวิชา (
Course Syllabus) หลักสูตร ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต
ภาควิชาทันตกรรมครอบรัวและชุมชน สาขาวิชาทันตกรรมชุมชน
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
รายวิชา
ทันตกรรมชุมชนปฏิบัติ
รหัสวิชา
415602
จำนวนหน่วยกิต
5
หน่วยกิต
 
(Community Dentistry Practice)
ชื่อย่อ
DCOP 602
 
(0/0 – 5/ฝ)
 
การเปิดสอน     
 
ภาคการศึกษาที่ 2
 
ปีการศึกษา 2555 ระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2556 ถึง วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา
 
ผศ.ทพ.อติศักดิ์
จึงพัฒนาวดี
 
 
คณาจารย์ผู้สอน             
 
รศ.ทพญ.ดร.พัชราวรรณ
ศรีศิลปนันทน์
 
 
ผศ.ทพ.ดร.ทรงวุฒิ
ตวงรัตนพันธ์
 
 
ผศ.ทพ.เฉลิมพงษ์
ชิตไทสง
 
 
ผศ.ทพญ.ดร.ปิยะนารถ
จาติเกตุ
 
  ผศ.ทพญ.ดร.ศศิธร ไชยประสิทธิ์  
 
อ.ทพ.นฤมนัส
คอวนิช
 
 
อ.ทพ.วิชัย
วิวัฒน์คุณูปการ
 
  ผศ.ทพ.อติศักดิ์ จึงพัฒนาวดี  
 
อ.ทพญ.ดร.ธิดาวรรณ
วิวัฒน์คุณูปการ
 
 
อ.ทพญ.ดร.กันยารัตน์
คอวนิช
 
 
อาจารย์พิเศษภาคสนาม  ได้แก่
 
1.
ทันตแพทย์หรือทันตบุคลากร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
 
2.
หัวหน้าฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลชุมชน
 
3.
ทันตแพทย์ในกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลชุมชน
 
4.
บุคลากรอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการฝึกปฏิบัติงานภาคสนามของนักศึกษา
 
อาจารย์นิเทศ
 
ทันตแพทย์ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์พิเศษภาคสนามร่วมนิเทศงานกับคณาจารย์ของภาควิชาทันตกรรมชุมชน ได้แก่
 
1.
อาจารย์จากคณะทันตแพทยศาสตร์ สถาบันการศึกษา อื่น ๆ อาทิเช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร
 
2.
ทันตแพทย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุขและเอกชนที่มีประสบการณ์

เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน เป็นนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที 5 โดยสมบูรณ์
ลักษณะกระบวนวิชา
 
เป็นกระบวนวิชาฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม โดยมีสถานที่ฝึกหลักคือโรงพยาบาลชุมชนและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเนื้อหาในการฝึกปฏิบัติงานแบ่งเป็น 2 ส่วนคือส่วนที่หนึ่งเป็นการบูรณาการความรู้ด้านทันตกรรมชุมชนทั้งหมดโดยเน้นที่การส่งเสริมสุขภาพในการลงฝึกปฏิบัติงานในชุมชนจริง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจทั้งในแง่แนวคิดทฤษฎีทางทันตกรรมชุมชนและในแง่วิถีชีวิตของชุมชนส่วนที่สองเพื่อให้นักศึกษาทันตแพทย์ได้เรียนรู้วิถีชีวิตของทันตแพทย์และบุคลากรสาธารณสุขที่ทำงานอยู่ในระบบโรงพยาบาล
 
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
 
เมื่อนักศึกษาผ่านการเรียนกระบวนวิชานี้แล้ว สามารถ
 
1.
ร่วมระบุและแก้ไขปัญหาสุขภาพและทันตสุขภาพของชุมชน โดยอาศัยการทำงานอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน
 
2.
ปฏิบัติงานเป็นกลุ่มในทีมงานสุขภาพได้ ตลอดจนเข้ากับสังคมที่ทำงานอยู่ได้อย่างเหมาะสม
 
3.
ใช้หลักของการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในชุมชนได้อย่างเหมาะสม
 
4.
มีความเข้าใจและสามารถอธิบายการบริหารงานทันตสาธารณสุขในหน่วยงานทันตกรรมระดับจังหวัดและอำเภอได้อย่างชัดเจน
 
วิธีการจัดการเรียนการสอน
 
1.
นักศึกษาจะถูกแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน เพื่อแยกย้ายปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนต่าง ๆ 20-21 โรงพยาบาล
 
2.
การปฏิบัติงานในช่วงประมาณ 7 สัปดาห์ (ประมาณ 48 วัน) แบ่งเป็น
 
 
2.1
การปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนออกฝึกภาคสนาม
 
 
 
สถานที่
คณะทันตแพทยศาตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
 
 
 
ระยะเวลา
2-3 วัน
 
 
2.2
การฝึกปฏิบัติงานภาคสนามของนักศึกษาในพื้นที่
 
 
 
สถานที่
หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ฝึกงาน
 
 
 
ระยะเวลา
33-39 วัน
 
 
2.3
การประชุมสัมมนาเพื่อสรุปผลการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม
 
 
 
สถานที่
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
 
 
ระยะเวลา
4-5 วัน
 
3.
การควบคุมการฝึกปฏิบัติงานภาคสนามโดยอาจารย์ประจำจากคณะทันตแพทยศาสตร์ แบ่งออกเป็น 5-6 ทีม ๆ ละ 2 คน โดยร่วมควบคุมการฝึกปฏิบัติกับอาจารย์พิเศษภาคสนามตลอดระยะเวลาการฝึกงานของนักศึกษา
 
4.
การนิเทศงาน อาจารย์นิเทศจะนิเทศงานช่วงกึ่งกลางของการฝึกงาน 1 ครั้ง ๆ ละ 5 วัน โดยอาจารย์จากคณะทันตแพทยศาสตร์ ร่วมกับอาจารย์พิเศษภาคสนามที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์นิเทศ ทั้งนี้อาจนิเทศงานร่วมกันกับอาจารย์นิเทศสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือคณะทำงานที่ทางจังหวัดมอบหมายให้ดำเนินการ
 
5.
นักศึกษาปฏิบัติงานทุกวัน ไม่เว้นวันเสาร์และอาทิตย์
 
อุปกรณ์การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
 
1.
เอกสารประกอบการสอน / คู่มือ
 
2.
คอมพิวเตอร์ และ เครื่องฉาย LCD
 
3.
วิดิทัศน์
 
4.
อุปกรณ์อื่นๆ
 
การประเมินผล  คะแนนทั้งหมด 100 คะแนน  แบ่งสัดส่วนและผู้ประเมินดังต่อไปนี้
 
 
รายการ
คะแนน
ผู้ให้คะแนน
 
1
การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานในภาคสนาม
40
อาจารย์พิเศษภาคสนาม
 
2.
การนำเสนอผลงาน
15
คณาจารย์
 
3.
รายงาน
15
อาจารย์ภาควิชาฯ
 
4.
คะแนนในระหว่าง
30
อาจารย์ภาควิชาฯ
 
 
การเตรียมการก่อนฝึกภาคสนาม (ปฐมนิเทศ)
 
 
 
 
การนิเทศงาน
 
 
 
 
การสรุปการเรียนรู้หลังฝึกภาคสนาม
 
 
 
 
โดยประเมินจาก
 
 
 
 
  ความรู้ความเข้าใจในทางวิชาการ
 
 
 
 
  การมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
 
 

ระดับปริญญาตรี

 

 

<< กระบวนวิชาที่เปิดสอน >>

<< รายละเอียดกระบวนวิชา >>

<< ตารางกำหนดการเรียนการสอน >>

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนสุเทพ ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
Copyright @ 2006. Faculty of Dentistry, Chiang Mai University.